14 ขั้นตอนในการปรับ On-page ให้เว็บไซต์
1.ตรวจสอบดูว่า HTML Source Code ของหน้านั้นไม่มี Markup Error (เช็คได้ที่ http://validator.w3.org/ )
2.ในการตั้งชื่อ URL ให้ใช้ - (Hyphen) แทนการใช้ _ (Underscore) เพราะว่าGoogleจะมองว่า bangkok-hotel.html = bangkok hotel
ในขณะที่ bangkok_hotel.html = bangkokhotel
3.อย่าลืมตั้งค่า charset ให้ถูกต้อง เช่น
4.ใช้ Links ในส่วนของ Footer ให้เป็นประโยชน์ (เหมาะสำหรับพวก Long Tail Keywords)
5.Title Tag กับ Meta Description ของแต่ละหน้าในเว็บของเรา ต้องไม่ซ้ำกัน อันนี้สำคัญมากๆ (อ่านต่อ Title & Meta Description Tag – Tags นี้สำคัญแค่ไหน?)
6.ตั้งชื่อ Title ให้น่าสนใจ แล้วก็ควรที่จะเกี่ยวข้องกับ Keyword ที่เราทำการ Researchมา
7.เขียน Meta Description ให้สอดคล้องกับ Title วัตถุประสงค์ก็เพื่อให้คนที่ทำการค้นหานั้นอยากคลิ๊ก แล้วก็เข้ามาอ่านต่อในเว็บของเรา
(เพราะว่า Google จะเอา Meta Description ไปแสดงในหน้าที่แสดงผลของการค้นหา)
8.ไม่ ต้องกังวลกับ Meta Keywords มากนัก รวมทั้งไม่ควรใส่ Keywords ที่เป็น Money Keywords ของเราลงไปด้วย เพื่อป้องการการขโมยคีย์เวิรด์จากคู่แข่ง
(โดยเฉพาะพวกที่ใช้ Tools ต่างๆ)
9.พวก CSS กับ JavaScripts ควรจะแยกออกไปเป็นไฟล์ไว้ข้างนอก เพื่อที่จะลดขนาด HTML ของหน้าเว็บนั้นๆ ซึ่งจะทำให้หน้าเว็บนั้น สามารถโหลดได้เร็วขึ้น
10.อย่าลืมความสำคัญของ Header Tags เช่น h1, h2
11.พวก Image Tag อย่าลืมใส่ค่าตรง alt ด้วย เช่น
12.พยายาม ที่จะใส่ Keyword ไว้ในที่ต่างๆ เหล่านี้ เช่น Title Tag, Meta Description, h1, h2, ย่อหน้าแรกของเนื้อหา, URL ของหน้านั้นๆ เป็นต้น
อาจจะใช้ตัวหน้า หรือว่าขีดเส้นใต้ให้กับ Keyword เหล่านั้นด้วยก็ได้
13.ใช้ Xenu ในการเช็ค Broken Links
14.สุดท้ายก็ทำการ Submit XML Sitemap ที่ Google Webmaster Tool
จากกระทู้นี้ครับ http://www.thaiseoboard.com/index.php?topic=92563.0
Labels: การปรับ On-page
1 Comments:
This comment has been removed by a blog administrator.
Post a Comment
Subscribe to Post Comments [Atom]
<< Home